พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เสือหลวงพ่อปาน ...
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย “เขี้ยวเสือของหลวงพ่อปาน” นั้น แกะจากเขี้ยวเสือโคร่ง มีช่างที่แกะเสือแล้วเป็นศิษย์ท่านด้วยกัน ๕ คน แต่ละคนจะแกะไม่เหมือนกันซะทีเดียว และมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก นั่งปากเม้มหุบสนิท ตากลม ขาหน้าทั้งสองใหญ่ เล็บจิกลงบนพื้น ถ้าเป็นต่างจังหวัดก็จะมีช่างแกะคอย เวลาหลวงพ่อปานไปธุดงค์ก็จะให้ปลุกเสก ประการสำคัญ ให้ดูรอยจารใต้ฐาน ท่านมักจะจารเองเป็น “นะขมวด” ที่เรียกกันว่า ‘ยันต์กอหญ้า’ และตัว ‘ฤ ฤา’ เอกลักษณ์ของเขี้ยวเสือของหลวงพ่อปาน ในปัจจุบันก็คือ เสือหน้าแมว หูหนู ตาลูกเต๋า ยันต์กอหญ้า ซึ่งมีทั้งเสือหุบปาก และเสืออ้าปาก เขี้ยวต้องกลวง มีทั้งแบบซีกและเต็มเขี้ยว เขี้ยวหนึ่งอาจแบ่งทำได้ถึง ๕ ตัว ตัวเล็กๆ เรียก “เสือสาริกา” เป็นปลายเขี้ยว ส่วนใหญ่พบว่าเป็นซีก คนโบราณนิยมเลี้ยงไว้ในตลับสีผึ้งทาปาก มีพุทธคุณครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางเมตตา แคล้วคลาด คงกระพันชาตรี แต่ที่เด่นที่สุดคือมหาอำนาจ
ผู้เข้าชม
2384 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
prajaktom
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 547-0-15643-5

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
vanglannaAchiClassicpraอ้วนโนนสูงLe29Amuletsomeman
Beerchang พระเครื่องยุ้ย พลานุภาพเพชร สารคามZomlazzaliยิ้มสยาม573นรินทร์ ทัพไทย
บ้านพระสมเด็จบ้านพระหลักร้อยเปียโนนานาkaew กจ.เธียร
termboonสยามพระเครื่องไทยnatthanetnatt29tintinMuthita
กระต่วยหริด์ เก้าแสนโกหมูchaithawatสมชายตลับพระ99jocho

ผู้เข้าชมขณะนี้ 658 คน

เพิ่มข้อมูล

เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย
รายละเอียด
เสือหลวงพ่อปาน วัดบางเหี้ย “เขี้ยวเสือของหลวงพ่อปาน” นั้น แกะจากเขี้ยวเสือโคร่ง มีช่างที่แกะเสือแล้วเป็นศิษย์ท่านด้วยกัน ๕ คน แต่ละคนจะแกะไม่เหมือนกันซะทีเดียว และมีขนาดไม่ใหญ่มากนัก นั่งปากเม้มหุบสนิท ตากลม ขาหน้าทั้งสองใหญ่ เล็บจิกลงบนพื้น ถ้าเป็นต่างจังหวัดก็จะมีช่างแกะคอย เวลาหลวงพ่อปานไปธุดงค์ก็จะให้ปลุกเสก ประการสำคัญ ให้ดูรอยจารใต้ฐาน ท่านมักจะจารเองเป็น “นะขมวด” ที่เรียกกันว่า ‘ยันต์กอหญ้า’ และตัว ‘ฤ ฤา’ เอกลักษณ์ของเขี้ยวเสือของหลวงพ่อปาน ในปัจจุบันก็คือ เสือหน้าแมว หูหนู ตาลูกเต๋า ยันต์กอหญ้า ซึ่งมีทั้งเสือหุบปาก และเสืออ้าปาก เขี้ยวต้องกลวง มีทั้งแบบซีกและเต็มเขี้ยว เขี้ยวหนึ่งอาจแบ่งทำได้ถึง ๕ ตัว ตัวเล็กๆ เรียก “เสือสาริกา” เป็นปลายเขี้ยว ส่วนใหญ่พบว่าเป็นซีก คนโบราณนิยมเลี้ยงไว้ในตลับสีผึ้งทาปาก มีพุทธคุณครบทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางเมตตา แคล้วคลาด คงกระพันชาตรี แต่ที่เด่นที่สุดคือมหาอำนาจ
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
2439 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0956839119
ID LINE
prajaktom
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกรุงไทย / 547-0-15643-5




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี